แจกไฟล์ แบบตรวจข้อสอบปรนัย เป็นไฟล์ Excel แก้ไขได้
แจกไฟล์ แบบตรวจข้อสอบปรนัย เป็นไฟล์ Excel แก้ไขได้
แจกไฟล์แบบตรวจข้อสอบปรนัย ไฟล์Excel แก้ไขได้ ามารถดาวน์โหลดไฟล์ในลิงก์ด้านล่าง
ข้อสอบปรนัย คือ ข้อสอบที่มีการกำหนดคำตอบมาให้ผู้ทดสอบได้เลือกตอบ ซึ่งบางครั้งอาจเรียกทับศัพท์ว่า ข้อสอบช้อย(choices) หรือตัวเลือก โดยเมื่อผู้สอบเลือกคำตอบที่ต้องการได้แล้วก็จะ กากบาท หรือ ฝนคำตอบลงในกระดาษคำตอบ
คุณสมบัติของข้อสอบปรนัยที่ดี
ข้อสอบแบบปรนัยที่ดี ๆ เขียนได้ยาก เพราะจะต้องเขียนดำถามให้สามารถวัดสิ่งที่ต้องการจะวัดได้ ถ้าวัดสมรรถภาพสมองขั้น ความรู้-ความจำ ก็เขียนได้ค่อนข้างง่าย ถ้าจะวัดขั้นความเข้าใจ นำไปใช้ วิเดราะห์ สังเคราห์ หรือประเมินค่า ซึ่งถือว่าเป็นสมรรถภาพสมองชั้นสูง จึงเป็นของธรรมตาที่ต้องออกแรงกันมากหน่อย เพราะข้อสอบดี ๆ สร้างยาก ในทารสร้างข้อสอบปรนัยที่ดี ๆ นั้น มิใช่ว่านึกจะเขียนให้ได้ดีก็เขียนได้เลย เนื่องจากงานเขียนข้อสอบเป็นงานประเภทสร้างสรรค์ ผู้เขียนจะต้องมีคุณสมบัติที่สำคัญ ดังนี้
- ต้องเป็นผู้มีความรู้ในเนื้อหาวิชาที่ตนจะเขียนข้อสอบอย่างลึกซึ้ง คำว่า “รู้สึกซึ้ง” ในที่นี้กินดวามเกินกว่าการท่องจำ เพราะการที่จะวัดให้ลัวงลึกลงไปในสมรรถภาพส มองชั้นยอดของเนื้อหาวิชาใดนั้น ผู้เขียนข้อสอบจะต้องรู้สึกซึ้งในสาขาวิชานั้น เพราะถ้าไม่มีความจะวัดแล้ว ข้อสอบที่สร้างขึ้นอาจจะขาดความเที่ยงตรงตามเนื้อหา นอกจากนี้ยังมีผลทำให้ผู้ออกข้อสอบ ไม่สามารถเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมที่สูงกว่าความรู้ ความจำได้
- ต้องเป็นผู้มีความรู้ในจุดมุ่งหมายของการศึกษา นั่นคือผู้ออกข้อสอบจะต้องรู้ว่าจะปลูกฝังให้นักเรียนเกิดสมรรถภาพใดขึ้นมาบ้าง และนักเรียนจะแสดงพฤติกรรมอะไรออกมาให้เห็นว่าสิ่งนั้นมีสมรรถภาพชนิดนั้นอยู่ เช่น รู้ว่าสมรรถภาพทางดวามรู้และปัญญา มีตั้งแต่ จำเข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์หรือประเมินค่า และยังรู้อีกว่า การที่เด็กเรียนวิทยาศาสตร์เรื่อง “สารประกอบ” แล้วเกิดสมรรถภาพทางวิเคราะห์ในเรื่องนั้นจะมีพฤติกรรมอย่างไร ขบวนการสอนเป็นแบบใดจึงจะเกิดวงจรความคิดประเภทนั้นขึ้นมา จึงจะวัดได้ถูกต้องว่าเขามีสมรรถภาพดังกล่าวอยู่หรือเปล่าถ้ามีมีอยู่สักเท่าได
- ต้องเป็นผู้มีความรู้ในหลักการศึกษาและจิตวิทยาเกี่ยวกับผู้เรียน ผู้ออกข้อสอบควรจะรู้ว่าเกระดับนั้น อายุขนาดนั้นจะมีสมรรถภาพทางด้านโน้นด้านนี้แล้วหรือยัง แบบที่ยากและซับซ้อนขนาดนี้จะเหมาะส มหรือไม่ ภาษาที่ใช้ควรจะเป็นอย่างไร
- ต้องเป็นผู้มีความสามารถช้ภาษาสื่อความคิดได้เป็นอย่างดี เนื่องจากการเขียนสอบนั้นต้องใช้ใจความสั้น ๆ ให้เด็กที่ต่งประส บการณ์ต่างระดับของความสามาร ถทางภาษาเข้าใจได้ตรงกันว่าเราต้องการถมอะไร และต้องการให้ตอบอะไรและดำตอบที่ให้เลือกแด่ละข้อหมายถึงอะไร กินความแค่ใหน นั่นคือ ต้องมีความสามารถในการเรียบเรียงถ้อยคำให้เข้าใจง่ายที่สุดเท่าที่จะ ง่ายได้แล้วยังต้องสื่อความหมายที่ต้องการได้อีกด้วย ผู้สร้างข้อสอบแต่ละข้อจะต้องคิดแล้วคิดอีกด้วยดวามถี่ถ้วนว่าประโยดนี้วสีนี้ผู้เข้าสอบที่ด้อยทั้งดวามรู้และประสบการณ์จะมีโอกาสตีความหมายแตกต่างไปจากที่ตนมุ่งหวังได้หรือไม่
- ต้องเป็นผู้ที่รู้เทคนิคของการสร้างข้อสอบแบบปรนัย และการเขียนข้อสอบ นั่นคือครูต้องรู้ว่าข้อสอบแต่ละข้อนั้น ถ้าจะให้เป็นข้อสอบที่ดีดวรจะมีลักษ ณะอย่างไร ถ้าจะเขียนข้อสอบให้ดีเลิศแล้วยังต้องการคุณส มบัติพิเศษขึ้นไปอีก กล่าวคือ ต้องเป็นคนมีความคิตสร้างสรรค์อยู่ในระดับสูง เพราะการวัดสมรรถภาพสมองในระดับสูงมักจะต้องเขียนเป็นส ถานการณ์ใหม่ที่เด็กไม่เคยพบประสบมาก่อนเลย จึงจะวัดลึกถึงระดับที่ต้องการ ดังนั้นจึงไม่แปลใจเลยว่าข้อสอบบางข้อ เรามองดูผิวเผินเป็นข้อสอบวัดส มรรถส มองระดับสูง แต่ไปใช้จริงจังเข้าเด็กมีได้ใช้สมรรถภาพสมองระดับนั้นมาตอบก็ทำได้ เนื่องจากส ถานการณ์นั้นหรือคล้าย ๆ กันนั้นเด็กได้เคยเรียนเคยรู้มาก่อนแล้ว จึงกลายเป็นวัดแค่จำเท่านั้นเอง (สำหรับเด็กกลุ่มนั้น)
จะเห็นได้ว่า การเขียนข้อสอบนั้นมิใช่ไครเขียนคำถามเป็นก็เขียนข้อสอบแบบปรนัยที่ดีได้จะเป็นได้ก็แต่ประโยดคำถามธรรมดาเท่านั้น
ตัวอย่างไฟล์
ดาวน์โหลดไฟล์
ขอบคุณที่มา : เพจพัสดุง่ายๆ by ครูคณิต